พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระกริ่งหลวงพ่อ...
พระกริ่งหลวงพ่ออุตตมะ รุ่นแรก เนื้อนวโลหะ ปี พ.ศ.2521
พระกริ่งหลวงพ่ออุตตมะ รุ่นแรก เนื้อนวโลหะ ปี พ.ศ.2521
วัดวังวิเวกการาม จ.กาญจนบุรี เนื้อนวโลหะ สร้างขึ้นเพื่อหาทุนสร้างพระเจดีย์วัดเฟื้อสุธรรม จังหวัดเพชรบุรี เมื่อปี พ.ศ.2521
จำนวนการสร้าง 2521 องค์ พระกริ่งรุ่นนี้สร้างที่วัดบวรฯและปลุกเสก โดยเกจิอาจารย์หลายรูปเสร็จแล้วหลวงพ่ออุตตมะได้นำกลับไปปลุกเสกต่อยังวัด วังวิเวกการามของท่าน ก่อนที่จะนำออกมาให้ประชาชนทั่วไปได้บูชา (ส่วนใหญ่พระจะตกอยู่กับผู้ที่สั่งจองไว้ในสมัยนั้นซะเป็นส่วนใหญ่) พระกริ่งรุ่นนี้เรื่องพุทธคุณหายห่วงมีประสบการณ์มากมายจนเป็นที่เลื่องลือ พิธีการสร้างและจำนวนก็ชัดเจนไม่มีการเสริม พระไม่ค่อยมีให้เห็นตามท้องตลาดทั่วไป คนที่มีพระกริ่งรุ่นนี้ต่างก็หวงแหนกันมาก
สำหรับประวัติของหลวงพ่ออุตตมะนั้นหลวงพ่อเกิดเมื่อที่เมืองมุกกะเหนี่ยง ในสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า ได้บรรพชาเป็นสามเณรและศึกษาทางพุทธศาสนาที่วัดมุกกะเหนียงจนจบหลักสูตร และได้เดินทางไปศึกษาต่อยังเมืองร่างกุ้ง สอบได้เปรียญธรรมชั้นเอก (ป.ธ.7) และเป็นเจ้าอาวาสวัดวังก์วิเวกการาม อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี
ส่วนประวัติโดยย่อนั้น เมื่ออายุได้ 20 ปีบริบูรณ์ หลวงพ่ออุตตมะ ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุศึกษาในสำนักศาสนศึกษาในเมืองย่างกุ้ง สอบได้ชั้นสูงสุดซึ่งเรียกว่าชั้น “ปาร์คู” แต่ยังไม่ทันประกาศผลก็เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ต้องอพยพหนีสงคราม ในระหว่างสงคราม พระอาจารย์จันทิมาซึ่งเป็นอุปัชฌาย์ของท่าน และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในทางกฤตยาคมเป็นที่เลื่องลือได้ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ท่านจนจบสิ้น เมื่อสงครามโลกยุติ ท่านก็ได้เดินธุดงค์ไปมาระหว่างประเทศไทยกับเมืองเย ผ่านเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งแสนจะทุรกันดาร จนถูกกองโจรขบวนการกู้ชาติจับ แต่ท่านก็สามารถใช้วิชาความรู้รอดชีวิตมาได้
หลวงพ่ออุตตมะ คุ้นเคยกับภูมิประเทศไทยเพราะเคยจำพรรษาอยู่ตามวัดต่างๆ ในท้องที่อำเภอ โพธาราม อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี และสมุทรปราการ ครั้นเมื่อ พ.ศ. 2500 ท่านได้ลงมือสร้างวัดขึ้นที่ฝั่งตะวันตกของลำน้ำแควน้อย ชื่อวัด “วังก์วิเวการาม” เพื่อจะได้เป็นที่พึ่งของชาวไทยและชาวมอญในถิ่นทุรกันดาร จนเป็นที่รู้จักกันดีทั่วไป โดยมีประชาชนทั้งชาวไทยชาวมอญในประเทศและจากนอกประเทศ เข้ามาร่วมทำบุญมีงานรื่นเริงเป็นประจำทุกปี
ต่อมามีการสร้างเขื่อนเขาแหลมบริเวณวัดน้ำจะท่วมทั้งหมด จึงได้ย้ายวัดขึ้นไปอยู่บนเขาโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตเป็นผู้จัดสร้าง ขณะนี้ดำเนินการก่อสร้างเกือบจะเสร็จสิ้นแล้วเหลืออยู่แต่เจดีย์ทรงสี่เหลี่ยมแบบพุทธคยาที่บริเณวัดที่เป็นสิ่งก่อสร้างที่สวยงามงดงามแห่งหนึ่ง ปัจจุบันนี้ท่านหลวงพ่อได้รับนิมนต์จากประชาชนทั่วทั้งประเทศ เพื่อไปประกอบพิธีพุทธาภิเษกทั้งในงานวัดและงานมงคลต่างๆ อยู่เสมอ มีประชาชนเลื่อมใสศรัทธามากทั้งชาวไทย และชาวมอญรวมทั้งพม่า
หลวงพ่ออุตตมะเป็นชื่อหรือฉายาในพระบวรพระพุทธศาสนาของท่าน คือ อุตตมะ หรืออุตตโม เราทั้งหลายจึงมักนิยมเรียกนามท่านตามฉายาสงฆ์ดังที่กล่าวมานี้
หลวงพ่ออุตตมะ เป็นพระภิกษุสงฆ์ที่ชอบเดินธุดงค์อยู่ป่าดงมากกว่าอยู่วัดวาอาวาส ท่านถือแนวทางการประพฤติปฏิบัติพระกรรมฐานเยี่ยงพระอริยเจ้าทั้งหลายที่เคยได้กระทำมาแล้ว พร้อมกับเป็นขวัญใจของชาวไทย และชาวรามัญองค์หนึ่งในยุคนี้
หลวงพ่ออุตตมะ
วัดวังก์วิเวการาม
เมื่อวันพุธที่ 18 ตุลาคม 2549 เวลา 07.22 น. เป็นวันแห่งการสูญเสียพระเกจิ อาจารย์แห่งภูมิภาคตะวันตกที่พุทธศาสนิกชนรู้จักในนามของหลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี พระอริยสงฆ์ที่คนไทย มอญ กะเหรี่ยง พม่า เคารพนับถือในปฏิปทา วัตรปฏิบัติ คำสอนที่เปี่ยมล้นด้วยแนวคิดอันเป็นคุณ ประโยชน์ในการสร้างสรรค์สังคม การดำรงชีวิตอย่างสันติสุข
เอกลักษณ์สำคัญอีกประการหนึ่งของท่าน ก็คือสร้อยประคำที่มีความศักดิ์สิทธิ์ด้วยฤทธิ์อำนาจมหาอาคมที่ท่านอธิษฐานจิต ปลุกเสกไว้ หลายทศวรรษที่ประคำ ศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่ออุตตมะได้รับความเชื่อถือจากศิษยานุศิษย์ ด้วยประสบการณ์หลากหลายมากมายที่สุด แม้ว่าหลวงพ่อจะบอกว่าท่านเน้นหนักเรื่องเป็นเมตตามหานิยมและโชคลาภ ประคำ กายสิทธิ์ดังกล่าวสร้างจากตำรับไสยเวทวิทยาคมของรามัญโบราณอย่างแท้จริง
หลวงพ่ออุตตมะได้รับการนิมนต์ให้ไป นั่งปรกปลุกเกวัตถุมงคลอยู่เสมอทั้งพิธีหลวงและตามวัดวาอารามทั่วประเทศ ท่านเคยสร้างอภินิหารอธิษฐานจิตปลุก เสกวัตถุมงคลจนเกิดเปลวไฟลุกขึ้นจากกล่องที่บรรจุวัตถุมงคล เหตุการณ์ในลักษณะ ดังกล่าวมักจะเกิดขึ้นอยู่เสมอในระหว่างพิธีปลุกเสกวัตถุมงคล
นามเดิม ว่า “เอหม่อง” เป็นชาวมอญเกิดในพม่า ท่านเกิด เมื่อพ. ศ. 2453 ที่บ้านโมกกะเนียง ต.เกลาสะ อ.เย จ.มะละแห ม่ง อายุ 9 ขวบบิดามารดาได้นำไปเป็นศิษย์วัดโมกกะเนียง ศึกษาธรรมะหัดอ่านเขียน เรียนหนังสือภาษามอญและพม่า อายุ 18 ปีบรรพชาเป็นสามเณรที่วัดเกลาสะศึกษาเล่า เรียนพระปริยัติธรรมสอบได้นักธรรมชั้นโท หลังจากนั้นจึงลาสิกขาบทมาช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพ ต่อมาได้บรรพชาอุปสมบทที่ วัดเกลาสะ พ. ศ.2476 โดยมีพระ เกตุมาลา วัดเกลาสะ เป็นพระ อุปัชฌาย์พระนันทสาโร วัดโมกกะ เนียง เป็นพระกรรมวาจา จารย์ พระวิสารทะ วัดเจ้าคะเลเป็นพระอนุสาวนา จารย์ สอบได้นักธรรมชั้นเอก และ สอบได้เปรียญธรรม 8 ประโยค ขณะ นั้นอยู่ในช่วงภัยสงคราม เกิดความระส่ำระสายไปทั่วประเทศพม่า ท่านจึงย้ายไปจำพรรษาอยู่ที่วัดเจ้าคะ เล ผจญกับภยันตรายรอบทิศ ต่อมา จึงออกธุดงค์ศึกษาไสยเวทย์วิทยาคมตำรับรามัญ คัมภีร์โบราณพม่าและปฏิบัติ กัมมัฏฐานโดยฝากตัวเป็นศิษย์ครูบาอาจารย์หลายสำนักและธุดงค์ไปตามป่าเขาลำเนาไพร หลายแห่งด้วยกัน ได้มีโอกาสพบพระ อริยสงฆ์ชาวไทยระหว่างที่กำลังธุดงค์หลายรูป จึงสนทนาธรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์กันอย่างถูกอัธยาศัย หลวงพ่ออุตตมะเข้ามาประเทศไทยครั้งแรกทาง จ.เชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.2486 โดยเดินธุดงค์มาจำพรรษาอยู่ที่วัดสวนดอก ก่อนจะออกธุดงค์ไปที่ จ.แม่ฮ่องสอน ตาก เชียงราย น่าน กาญจนบุรี ราชบุรี ด้วยความเบื่อหน่ายเหตุการณ์บ้านเมืองในประเทศพม่า ขณะนั้น หลวงพ่ออุตตมะ จึงตัดสินใจมุ่งสู่ประเทศไทยอีกครั้งทางหมู่บ้านอีต่อง ต.ปิล็อก อ.สังข ละ โดยขณะที่หลวงพ่อจำพรรษาอยู่ที่วัด เกาะ มีคนมาแจ้งข่าวว่าที่กิ่งอำเภอสังขละมีชาวมอญจากบ้านเดิมของหลวงพ่ออพยพ เข้าเมืองไทย และต้องการนิมนต์หลวงพ่อไปเยี่ยม
เมื่อหลวง พ่ออุตตมะเดินทางกลับไปยัง อ.ทองผาภูมิ เข้าไป อ.สังขละบุรีพบกับคนมอญทั้งหมด ที่มาจากโมกกะเนียง เจ้าคะเล และมะละแหม่ง บ้านเกิดของท่าน หลวงพ่อจึงพาชาวมอญ เหล่านี้ไปอาศัยอยู่ที่บ้านวังกะล่าง นับเป็นจุดกำเนิดแรกเริ่มของชุมชนชาวมอญใน สังขละบุรี ในปี พ.ศ.2499 หลวงพ่ออุตตมะร่วมกับชาวบ้านที่เป็น ชาวกะเหรี่ยงและชาวมอญได้พร้อมใจกันสร้างศาลาวัด ขึ้น พ.ศ.2505 ได้รับอนุญาต จากกรมการศาสนาให้ชื่อว่า “วัดวังก์วิเวการาม” สมณศักดิ์ของหลวงพ่ออุตตมะ พ.ศ.2512 ได้รับพระราช ทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูอุดมสิทธาจารย์ พ.ศ. 2524 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะ ที่พระอุดมสังวรเถร และ พ. ศ.2535 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็น พระราชอุดมมงคลพหลนราทร
การละสังขารของหลวงพ่ออุตตมะนับเป็นความโศก เศร้าเสียใจของบรรดาศิษย์ทั้งชาวไทย จีน กะเหรี่ยง มอญ พม่า บุญญาบารมีของหลวง พ่อได้ปกป้องคุ้มครองร่างกาย ชีวิต ทรัพย์สินของศิษยานุศิษย์มาตลอด สร้างความสุขสงบร่มเย็นให้สังคมมาหลาย ทศวรรษ หลวงพ่อจากพวกเราไปแล้ว เหลือแต่คุณงามความดีให้บรรดาพุทธศาสนิกชนได้ ระลึกนึกถึงตลอดไป
“เมื่อเราคิดถึงท่าน ท่านก็จะมาอยู่ในใจเรา เมื่อใดที่เรามีทุกข์ร้อนใจ เพียงระลึกถึงคำสอนของท่าน ท่านก็จะมาอยู่ข้างเรา…..”
พลศรีทอง พระเครื่อง โดย บู เชียงราย
. https://ponsrithong.com/
web (main) พระเครื่อง : บู เชียงราย ร้านพลศรีทอง พระเครื่อง
Web ( มุมพระ) : มุมพระ
https://www.mumpra.com/shop.php?shopid=507
web (99wat) : 99วัด
http://www.ponsrithong.99wat.com/
Facebook เพจพลศรีทอง พระเครื่อง บู เชียงราย
: https://www.facebook.com/ponsrithong/
IG :https://www.instagram.com/bu_chiangrai.amulet/
ผู้เข้าชม
1040 ครั้ง
ราคา
โทรถาม
สถานะ
มาใหม่
โดย
ponsrithong
ชื่อร้าน
พลศรีทองพระเครื่อง( บู เชียงราย )
ร้านค้า
ponsrithong.99wat.com
โทรศัพท์
0877124640
ไอดีไลน์
busoftware52
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
282-2-248xx-x
เหรียญนั่งพานหลวงปู่คำ สุวัณณโ
พระชัยวัฒน์ รุ่นแรก ปี2540 พระ
พระพุทธชินราชอินโดจีน สังฆาฏิส
ปิดตาฟ้าลั่น หลวงพ่อเกษม เขมโก
ตะโพนทรัพย์มงคล พระอาจารย์มานิ
เหรียญพระแสนแส้ แซ่ รุ่น1วัด
เหรียญหลวงพ่อฤาษีลิงดำ หลังท้า
เหรียญหลวงพ่อฤาษีลิงดำ หลังท้า
พระคำข้าว รุ่น1 หลวงพ่อฤาษีลิง
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ว.ศิลป์สยาม
vanglanna
ponsrithong2
ponsrithong
ยุ้ย พลานุภาพ
เทพจิระ
ศักดา พระเครื่อง
somphop
TUI789
mosnarok
มนต์เมืองจันท์
TotoTato
เจริญสุข
พีพีพระสมเด็จ
natthanet
Leksoi8
kaew กจ.
อ้วนโนนสูง
ภูมิ IR
หมี คุณพระช่วย
Nithiporn
แมวดำ99
Erawan
Putput
tangmo
อาร์ตกำแพงเพชร
จิ๊บพุทธะมงคล
ศิษย์บูรพา
เปียโน
jazzsiam amulet
ผู้เข้าชมขณะนี้ 586 คน
เพิ่มข้อมูล
พระกริ่งหลวงพ่ออุตตมะ รุ่นแรก เนื้อนวโลหะ ปี พ.ศ.2521
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระกริ่งหลวงพ่ออุตตมะ รุ่นแรก เนื้อนวโลหะ ปี พ.ศ.2521
รายละเอียด
พระกริ่งหลวงพ่ออุตตมะ รุ่นแรก เนื้อนวโลหะ ปี พ.ศ.2521
วัดวังวิเวกการาม จ.กาญจนบุรี เนื้อนวโลหะ สร้างขึ้นเพื่อหาทุนสร้างพระเจดีย์วัดเฟื้อสุธรรม จังหวัดเพชรบุรี เมื่อปี พ.ศ.2521
จำนวนการสร้าง 2521 องค์ พระกริ่งรุ่นนี้สร้างที่วัดบวรฯและปลุกเสก โดยเกจิอาจารย์หลายรูปเสร็จแล้วหลวงพ่ออุตตมะได้นำกลับไปปลุกเสกต่อยังวัด วังวิเวกการามของท่าน ก่อนที่จะนำออกมาให้ประชาชนทั่วไปได้บูชา (ส่วนใหญ่พระจะตกอยู่กับผู้ที่สั่งจองไว้ในสมัยนั้นซะเป็นส่วนใหญ่) พระกริ่งรุ่นนี้เรื่องพุทธคุณหายห่วงมีประสบการณ์มากมายจนเป็นที่เลื่องลือ พิธีการสร้างและจำนวนก็ชัดเจนไม่มีการเสริม พระไม่ค่อยมีให้เห็นตามท้องตลาดทั่วไป คนที่มีพระกริ่งรุ่นนี้ต่างก็หวงแหนกันมาก
สำหรับประวัติของหลวงพ่ออุตตมะนั้นหลวงพ่อเกิดเมื่อที่เมืองมุกกะเหนี่ยง ในสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า ได้บรรพชาเป็นสามเณรและศึกษาทางพุทธศาสนาที่วัดมุกกะเหนียงจนจบหลักสูตร และได้เดินทางไปศึกษาต่อยังเมืองร่างกุ้ง สอบได้เปรียญธรรมชั้นเอก (ป.ธ.7) และเป็นเจ้าอาวาสวัดวังก์วิเวกการาม อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี
ส่วนประวัติโดยย่อนั้น เมื่ออายุได้ 20 ปีบริบูรณ์ หลวงพ่ออุตตมะ ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุศึกษาในสำนักศาสนศึกษาในเมืองย่างกุ้ง สอบได้ชั้นสูงสุดซึ่งเรียกว่าชั้น “ปาร์คู” แต่ยังไม่ทันประกาศผลก็เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ต้องอพยพหนีสงคราม ในระหว่างสงคราม พระอาจารย์จันทิมาซึ่งเป็นอุปัชฌาย์ของท่าน และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในทางกฤตยาคมเป็นที่เลื่องลือได้ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้ท่านจนจบสิ้น เมื่อสงครามโลกยุติ ท่านก็ได้เดินธุดงค์ไปมาระหว่างประเทศไทยกับเมืองเย ผ่านเทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งแสนจะทุรกันดาร จนถูกกองโจรขบวนการกู้ชาติจับ แต่ท่านก็สามารถใช้วิชาความรู้รอดชีวิตมาได้
หลวงพ่ออุตตมะ คุ้นเคยกับภูมิประเทศไทยเพราะเคยจำพรรษาอยู่ตามวัดต่างๆ ในท้องที่อำเภอ โพธาราม อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี และสมุทรปราการ ครั้นเมื่อ พ.ศ. 2500 ท่านได้ลงมือสร้างวัดขึ้นที่ฝั่งตะวันตกของลำน้ำแควน้อย ชื่อวัด “วังก์วิเวการาม” เพื่อจะได้เป็นที่พึ่งของชาวไทยและชาวมอญในถิ่นทุรกันดาร จนเป็นที่รู้จักกันดีทั่วไป โดยมีประชาชนทั้งชาวไทยชาวมอญในประเทศและจากนอกประเทศ เข้ามาร่วมทำบุญมีงานรื่นเริงเป็นประจำทุกปี
ต่อมามีการสร้างเขื่อนเขาแหลมบริเวณวัดน้ำจะท่วมทั้งหมด จึงได้ย้ายวัดขึ้นไปอยู่บนเขาโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตเป็นผู้จัดสร้าง ขณะนี้ดำเนินการก่อสร้างเกือบจะเสร็จสิ้นแล้วเหลืออยู่แต่เจดีย์ทรงสี่เหลี่ยมแบบพุทธคยาที่บริเณวัดที่เป็นสิ่งก่อสร้างที่สวยงามงดงามแห่งหนึ่ง ปัจจุบันนี้ท่านหลวงพ่อได้รับนิมนต์จากประชาชนทั่วทั้งประเทศ เพื่อไปประกอบพิธีพุทธาภิเษกทั้งในงานวัดและงานมงคลต่างๆ อยู่เสมอ มีประชาชนเลื่อมใสศรัทธามากทั้งชาวไทย และชาวมอญรวมทั้งพม่า
หลวงพ่ออุตตมะเป็นชื่อหรือฉายาในพระบวรพระพุทธศาสนาของท่าน คือ อุตตมะ หรืออุตตโม เราทั้งหลายจึงมักนิยมเรียกนามท่านตามฉายาสงฆ์ดังที่กล่าวมานี้
หลวงพ่ออุตตมะ เป็นพระภิกษุสงฆ์ที่ชอบเดินธุดงค์อยู่ป่าดงมากกว่าอยู่วัดวาอาวาส ท่านถือแนวทางการประพฤติปฏิบัติพระกรรมฐานเยี่ยงพระอริยเจ้าทั้งหลายที่เคยได้กระทำมาแล้ว พร้อมกับเป็นขวัญใจของชาวไทย และชาวรามัญองค์หนึ่งในยุคนี้
หลวงพ่ออุตตมะ
วัดวังก์วิเวการาม
เมื่อวันพุธที่ 18 ตุลาคม 2549 เวลา 07.22 น. เป็นวันแห่งการสูญเสียพระเกจิ อาจารย์แห่งภูมิภาคตะวันตกที่พุทธศาสนิกชนรู้จักในนามของหลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี พระอริยสงฆ์ที่คนไทย มอญ กะเหรี่ยง พม่า เคารพนับถือในปฏิปทา วัตรปฏิบัติ คำสอนที่เปี่ยมล้นด้วยแนวคิดอันเป็นคุณ ประโยชน์ในการสร้างสรรค์สังคม การดำรงชีวิตอย่างสันติสุข
เอกลักษณ์สำคัญอีกประการหนึ่งของท่าน ก็คือสร้อยประคำที่มีความศักดิ์สิทธิ์ด้วยฤทธิ์อำนาจมหาอาคมที่ท่านอธิษฐานจิต ปลุกเสกไว้ หลายทศวรรษที่ประคำ ศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่ออุตตมะได้รับความเชื่อถือจากศิษยานุศิษย์ ด้วยประสบการณ์หลากหลายมากมายที่สุด แม้ว่าหลวงพ่อจะบอกว่าท่านเน้นหนักเรื่องเป็นเมตตามหานิยมและโชคลาภ ประคำ กายสิทธิ์ดังกล่าวสร้างจากตำรับไสยเวทวิทยาคมของรามัญโบราณอย่างแท้จริง
หลวงพ่ออุตตมะได้รับการนิมนต์ให้ไป นั่งปรกปลุกเกวัตถุมงคลอยู่เสมอทั้งพิธีหลวงและตามวัดวาอารามทั่วประเทศ ท่านเคยสร้างอภินิหารอธิษฐานจิตปลุก เสกวัตถุมงคลจนเกิดเปลวไฟลุกขึ้นจากกล่องที่บรรจุวัตถุมงคล เหตุการณ์ในลักษณะ ดังกล่าวมักจะเกิดขึ้นอยู่เสมอในระหว่างพิธีปลุกเสกวัตถุมงคล
นามเดิม ว่า “เอหม่อง” เป็นชาวมอญเกิดในพม่า ท่านเกิด เมื่อพ. ศ. 2453 ที่บ้านโมกกะเนียง ต.เกลาสะ อ.เย จ.มะละแห ม่ง อายุ 9 ขวบบิดามารดาได้นำไปเป็นศิษย์วัดโมกกะเนียง ศึกษาธรรมะหัดอ่านเขียน เรียนหนังสือภาษามอญและพม่า อายุ 18 ปีบรรพชาเป็นสามเณรที่วัดเกลาสะศึกษาเล่า เรียนพระปริยัติธรรมสอบได้นักธรรมชั้นโท หลังจากนั้นจึงลาสิกขาบทมาช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพ ต่อมาได้บรรพชาอุปสมบทที่ วัดเกลาสะ พ. ศ.2476 โดยมีพระ เกตุมาลา วัดเกลาสะ เป็นพระ อุปัชฌาย์พระนันทสาโร วัดโมกกะ เนียง เป็นพระกรรมวาจา จารย์ พระวิสารทะ วัดเจ้าคะเลเป็นพระอนุสาวนา จารย์ สอบได้นักธรรมชั้นเอก และ สอบได้เปรียญธรรม 8 ประโยค ขณะ นั้นอยู่ในช่วงภัยสงคราม เกิดความระส่ำระสายไปทั่วประเทศพม่า ท่านจึงย้ายไปจำพรรษาอยู่ที่วัดเจ้าคะ เล ผจญกับภยันตรายรอบทิศ ต่อมา จึงออกธุดงค์ศึกษาไสยเวทย์วิทยาคมตำรับรามัญ คัมภีร์โบราณพม่าและปฏิบัติ กัมมัฏฐานโดยฝากตัวเป็นศิษย์ครูบาอาจารย์หลายสำนักและธุดงค์ไปตามป่าเขาลำเนาไพร หลายแห่งด้วยกัน ได้มีโอกาสพบพระ อริยสงฆ์ชาวไทยระหว่างที่กำลังธุดงค์หลายรูป จึงสนทนาธรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์กันอย่างถูกอัธยาศัย หลวงพ่ออุตตมะเข้ามาประเทศไทยครั้งแรกทาง จ.เชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.2486 โดยเดินธุดงค์มาจำพรรษาอยู่ที่วัดสวนดอก ก่อนจะออกธุดงค์ไปที่ จ.แม่ฮ่องสอน ตาก เชียงราย น่าน กาญจนบุรี ราชบุรี ด้วยความเบื่อหน่ายเหตุการณ์บ้านเมืองในประเทศพม่า ขณะนั้น หลวงพ่ออุตตมะ จึงตัดสินใจมุ่งสู่ประเทศไทยอีกครั้งทางหมู่บ้านอีต่อง ต.ปิล็อก อ.สังข ละ โดยขณะที่หลวงพ่อจำพรรษาอยู่ที่วัด เกาะ มีคนมาแจ้งข่าวว่าที่กิ่งอำเภอสังขละมีชาวมอญจากบ้านเดิมของหลวงพ่ออพยพ เข้าเมืองไทย และต้องการนิมนต์หลวงพ่อไปเยี่ยม
เมื่อหลวง พ่ออุตตมะเดินทางกลับไปยัง อ.ทองผาภูมิ เข้าไป อ.สังขละบุรีพบกับคนมอญทั้งหมด ที่มาจากโมกกะเนียง เจ้าคะเล และมะละแหม่ง บ้านเกิดของท่าน หลวงพ่อจึงพาชาวมอญ เหล่านี้ไปอาศัยอยู่ที่บ้านวังกะล่าง นับเป็นจุดกำเนิดแรกเริ่มของชุมชนชาวมอญใน สังขละบุรี ในปี พ.ศ.2499 หลวงพ่ออุตตมะร่วมกับชาวบ้านที่เป็น ชาวกะเหรี่ยงและชาวมอญได้พร้อมใจกันสร้างศาลาวัด ขึ้น พ.ศ.2505 ได้รับอนุญาต จากกรมการศาสนาให้ชื่อว่า “วัดวังก์วิเวการาม” สมณศักดิ์ของหลวงพ่ออุตตมะ พ.ศ.2512 ได้รับพระราช ทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูอุดมสิทธาจารย์ พ.ศ. 2524 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะ ที่พระอุดมสังวรเถร และ พ. ศ.2535 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็น พระราชอุดมมงคลพหลนราทร
การละสังขารของหลวงพ่ออุตตมะนับเป็นความโศก เศร้าเสียใจของบรรดาศิษย์ทั้งชาวไทย จีน กะเหรี่ยง มอญ พม่า บุญญาบารมีของหลวง พ่อได้ปกป้องคุ้มครองร่างกาย ชีวิต ทรัพย์สินของศิษยานุศิษย์มาตลอด สร้างความสุขสงบร่มเย็นให้สังคมมาหลาย ทศวรรษ หลวงพ่อจากพวกเราไปแล้ว เหลือแต่คุณงามความดีให้บรรดาพุทธศาสนิกชนได้ ระลึกนึกถึงตลอดไป
“เมื่อเราคิดถึงท่าน ท่านก็จะมาอยู่ในใจเรา เมื่อใดที่เรามีทุกข์ร้อนใจ เพียงระลึกถึงคำสอนของท่าน ท่านก็จะมาอยู่ข้างเรา…..”
พลศรีทอง พระเครื่อง โดย บู เชียงราย
. https://ponsrithong.com/
web (main) พระเครื่อง : บู เชียงราย ร้านพลศรีทอง พระเครื่อง
Web ( มุมพระ) : มุมพระ
https://www.mumpra.com/shop.php?shopid=507
web (99wat) : 99วัด
http://www.ponsrithong.99wat.com/
Facebook เพจพลศรีทอง พระเครื่อง บู เชียงราย
: https://www.facebook.com/ponsrithong/
IG :https://www.instagram.com/bu_chiangrai.amulet/
ราคาปัจจุบัน
โทรถาม
จำนวนผู้เข้าชม
1041 ครั้ง
สถานะ
มาใหม่
โดย
ponsrithong
ชื่อร้าน
พลศรีทองพระเครื่อง( บู เชียงราย )
URL
http://www.ponsrithong.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0877124640
ID LINE
busoftware52
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 282-2-248xx-x
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี